Top พระเครื่อง Secrets
Top พระเครื่อง Secrets
Blog Article
Almost every Thai Buddhist has not less than one amulet. It is actually prevalent to determine each youthful and aged folks don not less than one particular amulet throughout the neck to come to feel nearer to Buddha.
ข่าวอาชญากรรมการเมืองต่างประเทศสังคมบันเทิงภูมิภาคกีฬาเศรษฐกิจข่าวทั้งหมด
เผยแพร่ หรือ อ่านบทความพระเครื่อง ฟรี
พระสมเด็จวัดระฆังพิมพ์ใหญ่เกศทะลุซุ้ม
เมนู เว็บ-พระ พระเครื่อง พระเครื่องออนไลน์
พระเนื้อชินเงิน ถ้าขั้นตอนการสร้างพระพิมพ์มีสัดส่วนของเนื้อเงินเยอะที่สุดจะเรียกว่าพระชินเนื้อเงิน มีลักษณะเป็นสีเงินสวยงาม
ในสมัยอยุธยาเริ่มมีการสร้างพระพิมพ์เพื่อให้เกิดความเป็นสิริมงคล ความศักดิ์สิทธิ์ และดลบันดาลให้เกิดอานุภาพต่าง ๆ สำหรับพกเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจเวลาไปสงครามแทนการพกเครื่องรางแบบเก่า เช่น ผ้าประเจียด (ผ้ายันต์ที่ใช้ผูกแขนหรือคล้องคอ) ตะกรุด พิสมร เป็นต้น ต่อมาในสมัยต้นรัตนโกสินทร์เกิดการเปลี่ยนแนวคิดทางพุทธศาสนา อีกทั้งได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมและวิทยาการจากชาติตะวันตก การสร้างพระพิมพ์เพื่อใช้เป็นเครื่องรางของขลังได้รับความนิยมมากขึ้น พระพิมพ์ที่สร้างเพื่อความเชื่อและความศรัทธาในพุทธคุณด้านต่าง ๆ เหล่านี้เรียกว่า “พระเครื่อง”
Don't have on Buddhist amulets under พระเครื่อง the waistline. For most amulets, wear it about the neck or above the waistline. This custom is to point out regard to the Buddha. Takruts, One more type of amulet created in Thailand but without a monk or Buddhist picture, might be set inside trousers pockets.
พระสมเด็จหลวงปู่ทวดพระปิดตาหลวงพ่อเงินหลวงพ่อคูณ
หลวงพ่อทบ ธัมมปัญโญ (พระครูวิชิตพัชราจารย์)
ประมูล พระเครื่อง หน้า ประมูลพระเครื่อง
พระปิดตาหลวงปู่เอี่ยม@พิมพ์ว่าวจุฬา
เหรียญห่วงเชื่อม หลวงปู่ทิม วัดละหารไร่ เนื้อนวโลหะ จ.ระยอง
พุทธศาสนาเข้ามาสู่ประเทศไทยราวสมัยทวารวดีพร้อมกับความเชื่อเรื่องการสร้างพระพิมพ์ ในสมัยทวารวดีได้รับเอาคติความเชื่อของชาวอินเดียเข้ามาโดยตรงส่งผลให้การสร้างพระพิมพ์ในสมัยทวารวดีมีวัตถุประสงค์การสร้างเหมือนกับอินเดีย คือ การสร้างพระพิมพ์เพื่อสืบพระศาสนาซึ่งเป็นความเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับเรื่องปัญจอันตรธานซึ่งปรากฏในคัมภีร์พุทธศาสนา เมื่อพุทธศาสนาแผ่ไปยังพื้นที่ต่าง ๆ ของประเทศไทย ความเชื่อเรื่องการสร้างพระพิมพ์ก็เปลี่ยนแปลงไปตามปัจจัยต่าง ๆ แต่ละพื้นที่ อาทิ พุทธศาสนาสมัยศรีวิชัยได้รับอิทธิพลของพุทธศาสนานิกายมหายานที่มีความเชื่อเรื่องการบำเพ็ญบุญเพื่อเป็นพระโพธิสัตว์ ส่งผลให้การสร้างพระพิมพ์ในสมัยศรีวิชัยจากที่สร้างพระพิมพ์เพื่อสืบพระศาสนาเปลี่ยนแปลงไปสู่การสร้างเพื่อเป็นการอุทิศส่วนกุศลให้แก่ผู้ตายและเป็นการสะสมบุญเพื่อเป็นพระโพธิสัตว์ในภายหน้า เป็นต้น